ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

กิจกรรมที่ ๑ ประชุมทีมวิจัยโครงการชุดสัมมาชีพชุมชน


กิจกรรมที่ ๑
ประชุมทีมวิจัยโครงการวิจัยชุดสัมมาชีพชุมชน
วันที่ ๑๕  กันยายน  ๒๕๖๐ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลพิมายเหนือ
........................................
เวลา ๐๙.๓๐ น.
          นายสรรณ์ญา กระสังข์ หัวหน้าโครงการวิจัยชุดสัมมาชีพชุมชน ได้กล่าวเปิดประชุม และชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม ในวันนี้  ว่ามี  วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม  มี  ๒ ประการ  ดังนี้
          (๑) ประชุมสร้างความเข้าใจทีมงานวิจัยเพื่อเข้าใจบทบาทหน้าที่ของทีมวิจัยในการขับเคลื่อนการดำเนินงานวิจัย 
          (๒) สร้างความรู้ความเข้าใจในการ กำหนดหลักสูตรการออกแบบเครื่องมือวิจัย สำหรับนักวิจัยชุมชน  ทั้ง  ๕  โครงการย่อย และโครงการวิจัยชุด  รวม  ๖  โครงการ

          นายสรรณ์ญา กระสังข์  ได้กล่าวถึงแนวคิดสำคัญของกระบวนการทำงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นที่ได้รับงบประมาณ  ในครั้งนี้  มุ่งเน้น  การวิจัยเพื่อสร้างรายได้ของประชาชนในพื้นที่ให้เพิ่มขึ้น  ตามแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน  ทั้งนี้  ให้ดำเนินงานบนพื้นฐาน  แนวคิด  สำคัญคือการพัฒนาแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์  ซึ่งมีกรอบการทำงาน  ดังนี้    
 








          ดังนั้น  จึงฝากให้  คณะทำงานโครงการฯ  แต่ละพื้นที่ได้ให้ความสำคัญของการขับเคลื่อนงาน โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ของการทำงาน  ว่างานในแต่ละ  ขั้นตอนนั้น  ผลลัพธ์ที่สำคัญอย่างไร และโครงการแต่ละแห่ง จะกำกับผลลัพธ์  ให้บรรลุอย่างไร 
          นายสรรณ์ญา กระสังข์  จึงได้นำเสนอถึงกรอบแนวคิดสำคัญ ในการขับเคลื่อนโครงการชุดวิจัยชุมชนว่ามี กระบวนการหรือเป้าหมายที่จะทำให้บรรลุอย่างไรบ้าง  รายละเอียด ดังนี้

 
         








          หลังจากนั้น  ได้นำเสนอกรอบแนวทาง ของโครงการชุดวิจัย ในการจัดทำรายละเอียดบันไดผลลัพธ์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้ทดลองบันไดผลลัพธ์ของแต่ละโครงการ  โดยมีรายละเอียดแนวคิดการจัดการผลลัพธ์  ดังนี้  
 











แผนภาพแสดงการจัดทำบันไดผลลัพธ์โครงการวิจัยชุดสัมมาชีพชุมชน 
          เมื่อทำความเข้าใจกลับกลุ่มเป้าหมายแล้ว  จึงได้มอบหมายใบงาน  ให้แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน  ๕  พื้นที่โครงการ  ได้ร่วมกันทำใบงาน  ซึ่งมีโจทย์สำคัญให้ชุมชน  ได้ทบทวนโครงการของตนเอง  ดังนี้





  



ความคาดหวัง
          ด้านเนื้อหา
๑.      แนวคิดหลักการวิธีการวิจัยท้องถิ่น / เรื่องสัมมาชีพชุมชน
๒.      ทบทวนโครงการเพื่อกำหนดกรอบการศึกษา
๓.      แตกกรอบการศึกษา
๔.      การตั้งคำถาม เก็บข้อมูล
๕.      เครื่องมือการเก็บข้อมูล
๖.      ฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล
๗.      คุณลักษณะนักวิจัยท้องถิ่น
๘.      การเขียนรายงาน
-          ความก้าวหน้า
-          ฉบับสมบูรณ์
๙.      แผน / การออกแบบการวิจัย

บทบาทหน้าที่  กลุ่มละ ๑ วัน
          - รับกระบวนการ
          - ต้อนรับวิทยากร
          - สันทนาการ
          - วัฒนธรรม
                   ๑. ห้วยยาง
                   ๒. หนองสะมอน
                   ๓. โพธิ์สามัคคี
                   ๔. หนองเชียงทูน
                   ๖. หนองแวง
กำหนดการ ๓ วัน ๒ คืน
วัน/เวลา
กิจกรรม

- เช้า
   วันที่ ๒๓ ก.ย. ๖๐

- เดินทางถึงพื้นที่บ้านหนองฮะ
- แนวคิดหลักการ วิธีการทางวิจัยท้องถิ่น / สัมมาชีพชุมชน
- ทบทวนโครงการเพื่อกำหนดกรอบการศึกษา


- บ่าย

- แตกกรอบการศึกษา


- เช้า
   วันที่ ๒๔ ก.ย. ๖๐

-การตั้งคำถามวิจัยเพื่อเก็บข้อมูล
- เครื่องมือการเก็บข้อมูล



- บ่าย
- ฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล


- เช้า
   วันที่ ๒๕ ก.ย. ๖๐

- คุณลักษณะนักวิจัยท้องถิ่น
- เค้าโครงการเขียนรายงาน
- แผน / การออกแบบการเก็บข้อมูล















บ้าน
นักวิจัย
ค่าอาหาร
ค่าอาหารว่าง
ค่าวิทยากร
สถานที่
ค่าที่พัก
ค่าอื่นๆ
๑. ห้วยยาง
๒๑






๒. หนองสะมอน
๑๓






๓. โพธิ์สามัคคี
๑๘






๔. หนองเชียงทูน
๑๔






๕. หนองแวง
๑๒






๖. โครงการชุด






๗. สื่อสาร






๘. Node






รวม
๙๒


















ทบทวนบันไดผลลัพธ์โครงการวิจัย ศึกษาแนวทางการรวมกลุ่มอาชีพเพื่อสร้างรายได้กับชุมชน บ้านหนองสะมอน

วงรี: ผลลัพธ์
แผนผังลำดับงาน: เทปเจาะรู: ตัวชี้วัด
 






 


แผนผังลำดับงาน: เทปเจาะรู: กิจกรรมกล่องข้อความ: ๑) ชุมชนมีความรู้ในการเลี้ยงโค – กระบือ
๒) ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการเลี้ยงโค – กระบือ
กล่องข้อความ: ๑) ศึกษาดูงานรูปแบบการเลี้ยงโค – กระบือ
๒) ปฏิบัติการอบรมสาธิตการเลี้ยงโคกระบือ
๓) อบรมการทำอาหารโค – กระบือ
๔) อบรมการฉีดวัคซีน  ขยายพันธุ์โค – กระบือ
๕) จัดเวทีนำเสนอต่อชุมชน
ทบทวนบันไดผลลัพธ์โครงการวิจัยนองเชียงทูน

วงรี: ผลลัพธ์
แผนผังลำดับงาน: เทปเจาะรู: ตัวชี้วัด
 






 


ทบทวนบันไดผลลัพธ์โครงการวิจัยการผลิตเส้นไหมเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนบ้านโพธิ์สามัคคี
 









 


ทบทวนบันไดผลลัพธ์โครงการวิจัยลำน้ำห้วยยาง

 













ทบทวนบันไดผลลัพธ์โครงการวิจัยบ้านหนองแวง
 




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คำกล่าวตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้มได้

คำกล่าวรายงานในพิธีเปิด ตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้มได้ อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ ...................................... เรียน   นายธวัช   สุวรรณ    นายอำเภอห้วยทับทัน ประธานในพิธีเปิดตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้มได้ อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ            ดิฉัน นางสุขใจ   จินดาพล    พัฒนาการอำเภอห้วยทับทัน   ในนามคณะกรรมการตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้มได้ อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ     การจัดงานตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้มได้ ในครั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ในกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ให้ประเทศไทย มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน   เป็นประเทศพัฒนา ด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาในด้านการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม สร้างโอกาสให้ทุกคนในสังคมเข้าถึงทรัพยากร แหล่งทุนในการประกอบอาชีพ   ประกอบกับนายกรัฐมนตรี มีข้อสั่งการในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่   ๑๙ กันยายน ๒๕๖๐ ให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการตลาดชุมชน เพื่อให้เกษตรกรผู้มีรายได้ร้อยในชุมชน รวมทั้งผู้ประกอบการที่เดือนร้อนจากการไม่มีสถานที่จำหน่าย ได้ม

การทำนาโยน ครั้งแรกในชีวิต

วันนี้ มีสหายท่าน หนึ่ง ได้มา ไถ่ถาม ถึงกระบวนการทำนาโยน ว่าทำอย่างไรบ้าง ซึ่งท่านเอง ก็สนใจอยากทดลอง ทำนา โยน บ้าง สิ่งนี้ จึงเป็นแรงจูงใจอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผม มีความรู้สึก อยากจัดระบบ ความรู้ เรื่องวิธีการทำนา โยน และขั้นตอน ต่าง ๆ ตามประสบการณ์ที่ผมเคยลงมือทำ  ซึ่งต้องยอมรับว่า การทำนาโยนครั้งแรกในชีวิต มันอยู่ที่ใจอยู่ที่การตัดสินใจ ของเราว่ากล้า ที่จะลอง  สิ่งใหม่ ๆ หรือไม่  และในกระบวนการตัดสินใจ ที่ว่านั้น  ระบบข้อมูล  นับเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด  ถ้าข้อมูลเพียงพอ  ก็  จะทำให้เราสบายใจ  และกล้าลงมือ   ทำ   จริงมั้ยครับ   สำหรับอุปกรณ์ในการทำนาโยน นั้น ประกอบด้วย   (๑) ถาดเพาะกล้านาโยน ซึ่งมีร้านจำหน่ายถาดเพาะกล้าชนิดนี้ ปกติ จะมีหลุมเพาะจำนวน  ๔๓๔  หลุม   (๒) ดินสำหรับเพาะกล้า  เป็นดินที่ร่อน ละเอียด ไม่จับเป็นก้อน ส่วนใหญ่ นิยมใช้ดินเหนียว เพราะจะช่วยให้ดินจับกันเป็นตุ้มดิน และนำกล้าออกจากถาด  ได้ง่าย   (๓) ปุ๋ยขี้วัว  ขี้ควาย  ที่ผ่านการร่อน  อย่างดี    (๔) พันธุ์ข้าว  ที่เราแช่น้ำ  บ่มไว้จน  รากงอก   ในขั้นตอน  นี้ การเตรียมกล้านาโยน  ส่วนใหญ่ 

ผ้าไหมเก็บบ้านเมืองหลวง อัตลักษณ์ทางภูมิปัญญาของชุมชน

ในฐานะนักพัฒนา ที่คลุกคลีกับชุมชนหมู่บ้าน ตามเนื้องานที่ทำอยู่ หากให้กล่าวถึงหมู่บ้านที่มีความโดดเด่นทางภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมชุมชน และอัตลักษณ์ชุมชนที่โดดเด่น แน่นอนว่า บ้านเมืองหลวงคือหนึ่งในหมู่บ้านที่มี ความครบถ้วน และโดดเด่น ผมทำงานร่วมกับชุมชนบ้านเมืองหลวงมาระยะหนึ่ง และมีความสุขทุกครั้งที่ได้เข้ามาขับเคลื่อนกับแกนนำชุมชนที่นี่   ใครมาที่นี่อาจหลงเสน่ห์บ้านเมืองหลวง ได้ง่ายๆ บ้านเมืองหลวงเป็นชุมชนเก่าแก่ ที่มีความเป็นมา มีฐานะทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจน   มีร่องรอยอารยธรรมโบราณที่ยังหลงเหลืออยู่ เช่น การมีคูคลองล้อมรอบชุมชน ตามแบบฉบับชุมชนโบราณ การมีหอระฆังที่ก่อสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง เหล่านี้ ล้วนเป็นสิ่งที่คนในชุมชนมีความภาคภูมิใจร่วมกัน            การทอผ้าไหมก็เป็นอาชีพหนึ่งที่ผู้คนที่นี่ ได้สืบสานสืบทอดภูมิปัญญา การทอผ้าไหมจากรุ่นสู่รุ่น แต่ละครัวเรือน เริ่มกระบวนการตั้งแต่ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม จนถึงการได้เส้นไหมพื้นบ้านที่มี ที่มีคุณสมบัติแห่งความเงางามและนุ่มน่าสวมใส่ ผ่านกระบวนการผลิตที่ทอด้วยมือ ด้วยภูมิปัญญา กว่าจะได้ผืนผ้ามาสักผืน ผู้ทอต้องมีน้ำอดน้ำทน ทำงานด้